ตลาดวิชาพื้นฐาน
ตลาดวิชาพื้นฐาน By Weerachai
วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2563
วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
วันอาทิตย์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2563
หญ้าอาหารสัตว์
ไป ใช้วิธีการปลูกด้วยท่อนพันธุ์ และให้น้ำเพียงอาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง ลักษณะลำต้นไม่สูงนัก
เหมาะสำหรับเลี้ยง วัว ควาย แพะ ม้าแม้กระทั่งไก่หรือปลาก็สามารถนำไปเลี้ยงได้
หญ้ารูซี่
หญ้ากินนีสีม่วง
หญ้าอะตราตัม
หญ้าอะตราตัม ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ลักษณะต้นเป็นกอ ใบกว้าง เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินทีมีความอุดมสมบุรณ์ต่ำ ดินเป็นกรด และมีน้ำขังบ้าง เหมาะสำหรับตัดให้สัตว์กิน ให้ผลผลิตน้ำหนักแห้ง 5-3.5 ตันต่อไร่ต่อปีหญ้าพลิแคทูลั่ม เป็นหญ้าอายุหลายปี ต้นตั้งเป็นกอ เจริญเติบโตได้ในดินทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ทนต่อสภาพแห้งแล้ง และน้ำท่วมขัง ปลูกด้วยเมล็ด ผลผลิตน้ำหนักแห้ง 5-2.5 ตันต่อไร่ต่อปี
นรกจักพรรดิ์
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2563
เปียกสลับเเห้งแกล้งข้าว
ทำนาแห้ง เปียกสลับเเห้งแกล้งข้าว
ขั้นเตรียมดิน ปลูกพืชอินทรีย์ พืชตระกูลถั่วที่มี หรือใบไม้ที่มีโปรยให้เต็มนา
ใช้พด.1 ผสมกากน้ำตาล 4 ซองต่อไร่ ผสมในน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่น แล้วไถกลบให้ย่อยสลายประมาณ 1 เดือน
เพื่อเตรียมหวานพันธุ์ข้าว ปุ๋ยอินทรีย์จะใช้เวลา1เดือนพืชนำไปใช้ได้ดี
ขั้นเริ่มปลูก ปล่อยน้ำเข้านาแล้วหวานพันธ์ุข้าว ปล่อยน้ำออกจากนาให้แห้งประมาณ 7-10 วัน
เดือนแรก ต้นกล้า (11-35 วัน) ให้น้ำในระดับ 5 cm อย่างสม่ำเสมอ ต้นกล้าจะสูงประมาณ 20-30 cm *เลี้ยงแหนแดงช่วยตรึงไนโตเจนในดินคลุมวัชพืชได้ดี
เดือนที่2 แตกก่อ (36 ถึง 45วัน) ปล่อยน้ำในนาให้แห้ง เพื่อส่งเสริมให้รากลงลึก แข็งแรงดีป้องกันโรคและแมลง ช่วงออกดอก
*แกล้งข้าวในระยะเวลา 25วัน ทำนาให้แห้ง ช่วยข้าวให้แตกก่อ ใส่ปุ๋ยแบบแห้ง แล้วเอาน้ำใส่
เดือนที่3 ออกดอกสร้างร่วง ( 46 ถึง 90 วัน) ให้น้ำในระดับ 5 cm ใส่ปุ๋ยบำรุงต้น
เร่งดอก ถ้าน้ำลดหรือแห้งให้เติมน้ำจนถึงช่วงข้าวออกรวงหรือว่าเข้าช่วงระยะเก็บเกี่ยว เอาน้ำออก
เดือนที่4 สร้างแป้งเก็บเกี่ยว (91-120วัน) ปล่อยน้ำออกให้แห้งรอการเก็บเกี่ยว
วิธีนี้จะช่วยให้เข้าได้น้ำเพียงพอตามช่วงอายุของข้าวได้ผลผลิตดี
*การดำนาในอดีต ดำนาถอนรากตัดก่อข้าว กว่าข้าวจะพื้นตัว 15วัน
หญ้าจะขึ้นทันที่ ชาวบ้านจะใช้วิธีเอาน้ำข้าว-น้ำออกป้องกันหญ้า หญ้าขึ้นน้ำเข้าท่วมหญ้า
หญ้าตายเอาน้ำออก
วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2563
น้ำน้อยทำนาอย่างไรให้รอด
นำน้อยทำนาอย่างไรให้รอด
ทางออกการปลูกข้าวน้ำน้อยการพึ่งน้ำเปี๊ยกสลับแห้ง ใช้น้ำอย่างคุ้มค่าสอดคล้องกับความต้องการของข้าว
1.ขั้นเตรียมดินปลูก ปลูกพืชอินทรีย์ พืชตระกูลถั่วที่มี แล้วไถกลบนอกจากนั้นปล่อยน้ำเข้านา เพื่อเตรียมหวานพันธุ์ข้าว
2.ช่วงเริ่มปลูก เตรียมดินปลูกปล่อยน้ำเข้านาแล้วหวานพันธ์ุข้าว ปล่อยน้ำออกจากนาให้แห้งประมาณ 7-10 วัน
3.ระยะข้าว 11-35 วัน ให้น้ำในระดับ 5 cm อย่างสม่ำเสมอ
4.ช่วง36 ถึง 45 วันปล่อยน้ำในนาให้แห้ง เพื่อส่งเสริมให้รากลงลึกแข็งแรงดีป้องกันโรคและแมลงช่วงออกดอก
5.46 ถึง 90 วัน ให้น้ำในระดับ 5 cm ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นเร่งดอก ถ้าน้ำลดหรือแห้งให้เติมน้ำจนถึงช่วงข้าวโน้มรวงหรือว่าเข้าช่วงระยะเก็บเกี่ยว
6.ระยะเก็บเกี่ยว 91-120วัน ปล่อยน้ำออกให้แห้งรอการเก็บเกี่ยว
วิธีนี้จะช่วยให้เข้าได้น้ำเพียงพอตามช่วงอายุของข้าวได้ผลผลิตดีแม้ในช่วงที่มีน้ำน้อย จึงเป็นการวางแผนการใช้น้ำตั้งแต่ต้นฤดูเพื่อลดความเสี่ยงจาก
สาหร่าย
สาหร่ายพวงองุ่น สามารถนำมาบริโภคสดจิ้มกับน้ำพริกกะปิ หรือน้ำจิ้มซีฟู้ด หรือจะนำมายำกับหมึกหรือกุ้ง
แหนแดงสายพันธุ์พื้นเมือง
วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563
วิธีกำจัดลูกน้ำหรือยุงด้วยภูมิปัญญา
การเกิดลูกน้ำยุง
ในธรรมชาติยุงชอบวางไข่ น้ำนิ่ง ไม่ไหล ออกซิเจนต่ำ ทำให้เกิดเป็นลูกน้ำยุงได้ดี
อิฐมอญล้างให้สะอาด ตากแดดแล้วนำไปเผาไฟ นำไปแช่น้ำ สามารภหยุดการเจริญเติบโตของลูกน้ำยุงได้นาน 1 เดือน
- ปูนแดงนำมาปั้น ตากแดด แล้วนำไปแช่จะอยู่ได้นาน 3 เดือน
เลี้ยงปลาหางนกยุง ปลากัด ปลาสอด เลี้ยง่าย อดทน แพร่พันธุ์ได้รวดเร็ว สามารถกำจัดลูกน้ำได้
- กำจัดลูกน้ำยุงลายจากผลมะพร้าว เพียงแค่ผ่าผลมะพร้าวและโยนลงบ่อ 2-3 ลูก ก็สามารถควบคุมปริมาณยุงได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์อื่นๆ ในบ่อ
วิธีทางเคมีกำจัดลูกน้ำยุง
- ผงซักฟอกโรยลงไปในภาชนะขังน้ำที่ไม่สามารถคว่ำได้ เช่น จานรองขาตู้กันมด แจกัน ศาลพระภูมิ ในอัตราส่วน 1 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำขัง 2 ลิตร
- ผงซักฟอกหรือผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดแชมพู น้ำยาล้างจาน สบู่เหลว ในอัตราส่วน 1 ส่วน ต่อน้ำ 4 ส่วน ค่อย ๆ คนอย่าให้เกิดฟอง ใส่ในกระบอกฉีดพรมผ้า ฉีดไปยังตัวยุงโดยตรงหรือฉีดไปตามที่มืดหรือมุมอับที่เห็นกลุ่มยุงไปเกาะพักอยู่ เช่น ตามมุมในห้องน้ำ ราวแขวนเสื้อผ้า
- เกลือแกง หรือน้ำสมสายชู
- ทรายกำจัดลูกน้ำ ทรายอะเบท
- แบคทีเรียกำจัดลูกน้ำยุงชนิด Bacillus thuringiensis var. israelensis (Bti) และ Bacillus sphaericus (Bsph)